วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552

gmap

     key="ABQIAAAAZa-ZfwZ5qpJLJpN9ozc7qhSxVvVOdvExNUrb3r-FcHZYBoOcjxQ_7t5p4I6H83AEM2qYAWueGqCAzg"/>

วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2552

PHP + Database [mysql]

php สามารถติดต่อผ่านฐานข้อมูลโดยใช่ คำสั่ง
mysql_connect ครับ
ง่าย มากๆ
การใช้งาน mysql_connect("host","username","password");

ส่วน host ค่า default จะเป็น localhost นะครับ ถ้า database และ web server อยู่ในเครื่องเดียวกัน
username ค่า default จะเป็น root ครับ ถ้า root ไม่ได้ไปสร้าง user ขึ้นอีก
password จะเป็น password ที่เราใส่ในหัวข้อ install appserv ครับ

คำสั่งของผมจะเป็น mysql_connect("localhost","root","123456")or die("ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้");

ปล คำสั่ง or die จะทำงานเมื่อ คำสั่งที่อยู่ข้างหน้าทำไม่ได้ครับ เป็นเท็จนั่นเอง

วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552

จัดการไฟล์ ใน PHP

คำสั่งที่ใช้จัดการไฟล์ใน php มีประมาณนี้นะครับ เอาที่สำคัญและใช้บ่อย


fopen() เอาไว้เปิดไฟล์ครับ

fread() เอาไว้อ่านไฟล์

fwrite() เอาไวเขียนไฟล์ครับ

fclose() เอาไว้ปิดไฟล์ที่เปิดขึ้นเพื่อคืนหน่วยความจำให้ระบบครับ


มาดูตัวอย่างการใช้ fopen กัน


<?php

$handle = fopen("c:\\data\\info.txt", "r");

?>


r คือ parameter ที่เอากำกับการเปิดไฟล์ครับ r คือ อ่านอย่างเดียว

มี parameter ให้ดูครับ

r เปิดเพื่ออ่านอย่างเดียว

r+ เปิดเพื่ออ่านและเขียนไฟล์

w เปิดเพื่อเขียนไฟล์ โดยเนื้อหาทั้งหมดของไฟล์จะถูกลบทิ้งไป

w+ เปิดเพื่ออ่านและเขียนไฟล์ โดยเนื้อหาทั้งหมดจะถูกลบทิ้ง

a เปิดเพื่อเขียนต่อท้ายไฟล์

a+ เปิดเพื่ออ่านและเขียนต่อท้ายไฟล์


fread($open,”ขนาดไฟล์”); เขียนไฟล์

ตัวอย่างการใช้งานครับ

<?php

// path ของไฟล์เป็น string ครับ

$filename = "/usr/local/something.txt";

$handle = fopen($filename, "r");

$contents = fread($handle, filesize($filename));

echo”$ contents ”;

fclose($handle);

?>


fwrite($open,”ข้อมูลที่จะเขียน”);

ตัวอย่างการใช้งานครับ

<?php

$fp = fopen('data.txt', 'w');

fwrite($fp, '23');

fclose($fp);

//ข้อมูลในไฟล์จะเป็น 23 ครับ

?>


**ไฟล์ที่ได้จะอยู่ใน Directory เดียวกันกับไฟล์ script ครับ

** ถ้าไม่มีไฟล์ data.txt PHP จะสร้างขึ้นมาใหม่ครับ


จบแล้วนะครับสำหรับการจัดการไฟล์เบื้องต้น ต่อไปคงเป็นเรื่อง ฐานข้อมูล ซะที

จัดการ Directory ใน PHP

php สามารถอ่านไดเรคทอรี่ Directory ว่ามีไฟล์อะไรบ้าง และสามารถลบแ้ก้ไขไฟล์นั้นได้ด้วย คำสั่งที่ใช้ในการอ่านไฟล์ใน Directory ประกอบด้วย
- open_dir เปิด Directory
- read_dir อ่าน Directory ที่ open_dir ว่ามีไฟล์อะไรบ้าง
- close_dir ปิด open_dir เพื่อคืนหน่่วยความจำให้ระบบ

ตัวอย่างการใช้งาน

// Note that !== did not exist until 4.0.0-RC2

if ($handle = opendir('/path/to/files')) { // path ที่ต้องการอ่านไฟล์ในที่จะอ่านในโฟรเดร์ files
echo
"Directory handle: $handle\n";
echo
"Files:\n";

/* This is the correct way to loop over the directory. */
while (false !== ($file = readdir($handle))) {
echo
"$file\n";
}

/* This is the WRONG way to loop over the directory. */
while ($file = readdir($handle)) {
echo
"$file\n";
}

closedir($handle);
}
?>

วันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2552

Array in PHP

การใช้งาน Array ใน PHP



วิธีการกำหนดค่าตัวแปรอาเรย์ ใน PHP



$text=array(“a”,”b”,”c”);


การแสดงค่าตัวแปร array ใน PHP



<?

echo $array[0]; // key 0 จะได้ ค่า a

?>




ทำไม่ key ต้องเป็น 0 เพราะตัวแปรใน array จะเริ่มจาก index ที่ 0 เป็นค่า default


ทำอย่างไรจึงจะแสดงผลได้ทั้งหมด การแสดงผล array ทั้งหมดต้องใช้การวนลูปครับ

<?

$text=array(“a”,”b”,”c”);

for($i=0;$i<count($text);$i++){

echo $text[$i].”<br>”;

}//end for

?>


ผลที่ได้



a

b

c



foreach เป็นอีกคำสั่งที่ใช้ในการแสดงผล array ครับ

วิธีการเขียนอีกแบบโดยใช้ Loop แบบ foreach



<?

$text=array(“a”,”b”,”c”);

foreach($text as $value){

$n++;

echo $text[$i].”<br>”;

}

?>




ผลที่ได้



a

b

c


ได้ผลลัพธ์เหมือนกันครับ







Array 2 มิติ คือการเก็บข้อมูลแบบ อาเรย์ แต่เพิ่ม slot กาเก็บข้อมูลเข้าไปอีกเพื่อประโยชน์ในการเก็บข้อมูลแบบซับซ้อนนะครับ เช่น เราต้องการเก็บรายชื่อนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งนะครับ

ห้อง 0 มีนักเรียน นายดำ นายแดง นายเขียว

ห้อง 1 มีนักเรียน นายฟ้า นายม่วง นายส้ม

ห้อง 2 มีนักเรียน นายชมพู นายน้ำเงิน นายเหลือง



ลักษณะการเขียนโค้ดนะครับ

$room[0][0] =”นายดำ”;

$room[0][1]=”นายแดง”;

$room[0][2]=”นายเขียว”;



$room[1][0] =”นายฟ้า”;

$room[1][1]=”นายม่วง”;

$room[1][2]=”นายส้ม”;



$room[2][0] =”นายชมพู”;

$room[2][1]=”นายน้ำเงิน”;

$room[2][2]=”นายเหลือง”;



ลักษณะเขียนโค้ดวนลูปเพื่อแสดงผลครับ ใช้ for ละกัน



for($i=0;$i<count($room);$i++){ //count คือ คำสั่งนับจำนวนสมาชิกในArray นั้นครับ บรรทัดนี้คือนับจำนวนห้อง ช 3 ครับ

for($a=0;$a<count($room[$i]);$a++){ //บรรทัดนี้นับ $room[0] เท่ากับ 3 อีกเช่นกันครับ

echo"นักเรียนห้อง $i". $room[$i][$a] ;

}

echo"<br>"; //หลังจากพิมพ์รายชื่อนักเรียนเสร็จพิมพ์เว้นบรรทัดแทรกระหว่างแต่ละห้องครับ

}




ตัวอย่างง่ายๆ นะครับ ทำไม $i ต้อง =0 เพราะว่า key ของอาเรย์เริ่มต้นที่ 0 ครับค่า default = 0 ถ้าไม่ต้องการให้เป็น 0 ก็ $arr[1]="ค่า"; ก็ได้ครับ